Episodes
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 รัฐบาลคณะราษฎร ได้ฟื้นฟูการทูตสวนสัตว์โดยในปี 2478 โดยได้ส่งช้างไปสานสัมพันธ์ตามคำขอของรัฐบาลประเทศญี่ปุ่น ชื่อ พังวันดี ซึ่งได้รับการต้อนรับจากชาวญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก โดยได้เปลี่ยนชื่อเป็น พังฮานาโกะ แต่ในเวลาไม่นานเกิดอาการป่วยและล้มในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 (สงครามมหาเอเชียบูรพา) และในยุคที่ญี่ปุ่นกำลังฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลก รัฐบาลไทยได้ส่งตัวแทน คือ ร.อ.สมหวัง สารสาส นำช้างที่มีชื่อว่า พังคชา ไปให้ญีปุ่น จัดแสดงที่สวนสัตว์อุเอโนะ...
Published 10/30/21
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 รัฐบาลคณะราษฎร ได้ฟื้นฟูการทูตสวนสัตว์โดยในปี 2478 โดยได้ส่งช้างไปสานสัมพันธ์ตามคำขอของรัฐบาลประเทศญี่ปุ่น ชื่อ พังวันดี ซึ่งได้รับการต้อนรับจากชาวญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก โดยได้เปลี่ยนชื่อเป็น พังฮานาโกะ แต่ในเวลาไม่นานเกิดอาการป่วยและล้มในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 (สงครามมหาเอเชียบูรพา) และในยุคที่ญี่ปุ่นกำลังฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลก รัฐบาลไทยได้ส่งตัวแทน คือ ร.อ.สมหวัง สารสาส นำช้างที่มีชื่อว่า พังคชา ไปให้ญีปุ่น จัดแสดงที่สวนสัตว์อุเอโนะ...
Published 10/30/21
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 รัฐบาลคณะราษฎร ได้ฟื้นฟูการทูตสวนสัตว์โดยในปี 2478 โดยได้ส่งช้างไปสานสัมพันธ์ตามคำขอของรัฐบาลประเทศญี่ปุ่น ชื่อ พังวันดี ซึ่งได้รับการต้อนรับจากชาวญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก โดยได้เปลี่ยนชื่อเป็น พังฮานาโกะ แต่ในเวลาไม่นานเกิดอาการป่วยและล้มในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 (สงครามมหาเอเชียบูรพา) และในยุคที่ญี่ปุ่นกำลังฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลก รัฐบาลไทยได้ส่งตัวแทน คือ ร.อ.สมหวัง สารสาส นำช้างที่มีชื่อว่า พังคชา ไปให้ญีปุ่น จัดแสดงที่สวนสัตว์อุเอโนะ...
Published 10/30/21
Published 10/30/21
ในคราวที่สร้างพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ได้มีการสร้างช้างสำริดขึ้นบริเวณอัฒจรรย์ทางขึ้นพระที่นั่ง โดยรัชกาลที่ 5 มีพระราชประสงค์เป็น 2 นัยคือ 1. เพื่อทบทวนอดีตของตำแหน่งที่ตั้งของพระที่นั่ง โดยตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่ 1 เคยเป็นโรงช้างเผือก 2. เพื่อเป็นสัญลักษณ์ของบ้านเมืองและพระเกียรติยศของพระมหากษัตริย์ ส่วนในสมัยรัชกาลที่ 7 ได้พระราชทานรูปปั้นช้างไปที่ไซ่ง่อน อีกด้วย
Published 10/23/21
ในคราวที่สร้างพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ได้มีการสร้างช้างสำริดขึ้นบริเวณอัฒจรรย์ทางขึ้นพระที่นั่ง โดยรัชกาลที่ 5 มีพระราชประสงค์เป็น 2 นัยคือ 1. เพื่อทบทวนอดีตของตำแหน่งที่ตั้งของพระที่นั่ง โดยตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่ 1 เคยเป็นโรงช้างเผือก 2. เพื่อเป็นสัญลักษณ์ของบ้านเมืองและพระเกียรติยศของพระมหากษัตริย์ ส่วนในสมัยรัชกาลที่ 7 ได้พระราชทานรูปปั้นช้างไปที่ไซ่ง่อน อีกด้วย
Published 10/23/21
ในคราวที่สร้างพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ได้มีการสร้างช้างสำริดขึ้นบริเวณอัฒจรรย์ทางขึ้นพระที่นั่ง โดยรัชกาลที่ 5 มีพระราชประสงค์เป็น 2 นัยคือ 1. เพื่อทบทวนอดีตของตำแหน่งที่ตั้งของพระที่นั่ง โดยตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่ 1 เคยเป็นโรงช้างเผือก 2. เพื่อเป็นสัญลักษณ์ของบ้านเมืองและพระเกียรติยศของพระมหากษัตริย์ ส่วนในสมัยรัชกาลที่ 7 ได้พระราชทานรูปปั้นช้างไปที่ไซ่ง่อน อีกด้วย
Published 10/23/21
ในขณะนั้นกลุ่มประเทศตะวันตกได้จัดให้มีการตั้งสวนสัตว์ขึ้น โดยรวบรวมสัตว์จากต่างประเทศทั่วโลกไปจัดแสดง รัชกาลที่ 4 ทรงทราบว่าประเทศสหรัฐอเมริกาไม่มีช้างเป็นสัตว์ประจำถิ่น พระองค์มีพระราชหัตถเลขาถึงประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ที่จะส่งช้างไป 1 คู่ เพื่อจัดแสดงในสวนสัตว์รวมทั้งเพาะขยายพันธุ์ โดยประธานาธิบดีอับราฮัม ลินคอล์น ได้ตอบปฏิเสธและให้เหตุผลว่า ภูมิอากาศไม่เหมาะกับช้าง รวมถึงพลังเครื่องจักรไอน้ำเริ่มเจริญมากขึ้น นอกจากนี้รัชกาลที่ 4 ยังได้ติดต่อสัมพันธ์กับทางอังกฤษและฝรั่งเศสอีกด้วย
Published 10/16/21
ในขณะนั้นกลุ่มประเทศตะวันตกได้จัดให้มีการตั้งสวนสัตว์ขึ้น โดยรวบรวมสัตว์จากต่างประเทศทั่วโลกไปจัดแสดง รัชกาลที่ 4 ทรงทราบว่าประเทศสหรัฐอเมริกาไม่มีช้างเป็นสัตว์ประจำถิ่น พระองค์มีพระราชหัตถเลขาถึงประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ที่จะส่งช้างไป 1 คู่ เพื่อจัดแสดงในสวนสัตว์รวมทั้งเพาะขยายพันธุ์ โดยประธานาธิบดีอับราฮัม ลินคอล์น ได้ตอบปฏิเสธและให้เหตุผลว่า ภูมิอากาศไม่เหมาะกับช้าง รวมถึงพลังเครื่องจักรไอน้ำเริ่มเจริญมากขึ้น นอกจากนี้รัชกาลที่ 4 ยังได้ติดต่อสัมพันธ์กับทางอังกฤษและฝรั่งเศสอีกด้วย
Published 10/16/21
ในขณะนั้นกลุ่มประเทศตะวันตกได้จัดให้มีการตั้งสวนสัตว์ขึ้น โดยรวบรวมสัตว์จากต่างประเทศทั่วโลกไปจัดแสดง รัชกาลที่ 4 ทรงทราบว่าประเทศสหรัฐอเมริกาไม่มีช้างเป็นสัตว์ประจำถิ่น พระองค์มีพระราชหัตถเลขาถึงประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ที่จะส่งช้างไป 1 คู่ เพื่อจัดแสดงในสวนสัตว์รวมทั้งเพาะขยายพันธุ์ โดยประธานาธิบดีอับราฮัม ลินคอล์น ได้ตอบปฏิเสธและให้เหตุผลว่า ภูมิอากาศไม่เหมาะกับช้าง รวมถึงพลังเครื่องจักรไอน้ำเริ่มเจริญมากขึ้น นอกจากนี้รัชกาลที่ 4 ยังได้ติดต่อสัมพันธ์กับทางอังกฤษและฝรั่งเศสอีกด้วย
Published 10/16/21
การติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติผ่านเรือสินค้าไปยังต่างประเทศ สิ่งที่ยืนยันความเป็นรัฐของเรือแต่ละลำคือการประดับด้วยธง สมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้นำรูปช้างเผือกสีขาวติดลงบนธงสีแดง ถือเป็นสัญลักษณ์ของสยาม นอกจากนี้ยังติดต่อค้าขายกับประเทศสหรัฐอเมริกาตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา โดยในสมัยประธานาธิบดีแอนดรูว์ แจ็กสัน ซึ่งตรงกับรัชกาลที่ 3 มีนโยบายติดต่อการค้ากับสยาม ได้ส่งนายเอดมันต์ โรเบิตส์ มาเป็นทูต พร้อมทั้งนำสารของประธานาธิบดีและเครื่องบรรณาการเข้ามาถวายรัชกาลที่ 3...
Published 10/09/21
การติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติผ่านเรือสินค้าไปยังต่างประเทศ สิ่งที่ยืนยันความเป็นรัฐของเรือแต่ละลำคือการประดับด้วยธง สมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้นำรูปช้างเผือกสีขาวติดลงบนธงสีแดง ถือเป็นสัญลักษณ์ของสยาม นอกจากนี้ยังติดต่อค้าขายกับประเทศสหรัฐอเมริกาตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา โดยในสมัยประธานาธิบดีแอนดรูว์ แจ็กสัน ซึ่งตรงกับรัชกาลที่ 3 มีนโยบายติดต่อการค้ากับสยาม ได้ส่งนายเอดมันต์ โรเบิตส์ มาเป็นทูต พร้อมทั้งนำสารของประธานาธิบดีและเครื่องบรรณาการเข้ามาถวายรัชกาลที่ 3...
Published 10/09/21
การติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติผ่านเรือสินค้าไปยังต่างประเทศ สิ่งที่ยืนยันความเป็นรัฐของเรือแต่ละลำคือการประดับด้วยธง สมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้นำรูปช้างเผือกสีขาวติดลงบนธงสีแดง ถือเป็นสัญลักษณ์ของสยาม นอกจากนี้ยังติดต่อค้าขายกับประเทศสหรัฐอเมริกาตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา โดยในสมัยประธานาธิบดีแอนดรูว์ แจ็กสัน ซึ่งตรงกับรัชกาลที่ 3 มีนโยบายติดต่อการค้ากับสยาม ได้ส่งนายเอดมันต์ โรเบิตส์ มาเป็นทูต พร้อมทั้งนำสารของประธานาธิบดีและเครื่องบรรณาการเข้ามาถวายรัชกาลที่ 3...
Published 10/09/21
ช้าง สัตว์คู่บ้านคู่เมืองของชนชาวภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ ที่มีความสำคัญโดยได้รับความเชื่อมาจากวัฒนธรรมอินเดีย โดยเฉพาะช้างเผือก ถือว่าเป็นสัตว์ที่ส่งเสริมพระบารมีของพระมหากษัตริย์ ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า แห่งกรุงศรีอยุธยา ทรงได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก เพราะทรงมีช้างเผือกครอบครองจำนวนมาก ความทราบถึงพระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์แห่งพม่า พระองค์จึงส่งราชทูตเชิญพระราชสาส์นมาขอพระราชทานช้างเผือก แต่สมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงให้เหตุผลเชิงปฏิเสธ ทำให้พระเจ้าบุเรงนองไม่พอพระทัย...
Published 10/02/21
ช้าง สัตว์คู่บ้านคู่เมืองของชนชาวภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ ที่มีความสำคัญโดยได้รับความเชื่อมาจากวัฒนธรรมอินเดีย โดยเฉพาะช้างเผือก ถือว่าเป็นสัตว์ที่ส่งเสริมพระบารมีของพระมหากษัตริย์ ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า แห่งกรุงศรีอยุธยา ทรงได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก เพราะทรงมีช้างเผือกครอบครองจำนวนมาก ความทราบถึงพระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์แห่งพม่า พระองค์จึงส่งราชทูตเชิญพระราชสาส์นมาขอพระราชทานช้างเผือก แต่สมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงให้เหตุผลเชิงปฏิเสธ ทำให้พระเจ้าบุเรงนองไม่พอพระทัย...
Published 10/02/21
ช้าง สัตว์คู่บ้านคู่เมืองของชนชาวภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ ที่มีความสำคัญโดยได้รับความเชื่อมาจากวัฒนธรรมอินเดีย โดยเฉพาะช้างเผือก ถือว่าเป็นสัตว์ที่ส่งเสริมพระบารมีของพระมหากษัตริย์ ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า แห่งกรุงศรีอยุธยา ทรงได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก เพราะทรงมีช้างเผือกครอบครองจำนวนมาก ความทราบถึงพระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์แห่งพม่า พระองค์จึงส่งราชทูตเชิญพระราชสาส์นมาขอพระราชทานช้างเผือก แต่สมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงให้เหตุผลเชิงปฏิเสธ ทำให้พระเจ้าบุเรงนองไม่พอพระทัย...
Published 10/02/21
การสร้างพระสยามเทวาธิราช ของรัชกาลที่ 4 มีต้นแบบของความเชื่อเกี่ยวกับการเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในราชอาณาจักรมาจาก เทพีบริทาเนีย (Britannia) แห่งราชวงศ์อังกฤษ แต่ในขณะนั้นการจะพูดถึงการเป็นศูนย์รวมจิตใจกับประชาชน คงเป็นเรื่องยากในการทำความเข้าใจ รัชกาลที่ 4 จึงได้นำความเชื่อเกี่ยวกับการปกปักษ์รักษาเมืองให้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข โดยได้ยกสถานะพระสยามเทวาธิราชเป็นเทพคุ้มครองปกป้องเมือง ที่อยู่เหนือเทพยดาหลักเมืองและเทพารักษ์ทั้ง 5 คือ เจ้าพ่อหอกลอง เจ้าพ่อเจตคุปต์ พระเสื้อเมือง พระทรงเมือง...
Published 09/25/21
การสร้างพระสยามเทวาธิราช ของรัชกาลที่ 4 มีต้นแบบของความเชื่อเกี่ยวกับการเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในราชอาณาจักรมาจาก เทพีบริทาเนีย (Britannia) แห่งราชวงศ์อังกฤษ แต่ในขณะนั้นการจะพูดถึงการเป็นศูนย์รวมจิตใจกับประชาชน คงเป็นเรื่องยากในการทำความเข้าใจ รัชกาลที่ 4 จึงได้นำความเชื่อเกี่ยวกับการปกปักษ์รักษาเมืองให้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข โดยได้ยกสถานะพระสยามเทวาธิราชเป็นเทพคุ้มครองปกป้องเมือง ที่อยู่เหนือเทพยดาหลักเมืองและเทพารักษ์ทั้ง 5 คือ เจ้าพ่อหอกลอง เจ้าพ่อเจตคุปต์ พระเสื้อเมือง พระทรงเมือง...
Published 09/25/21
การสร้างพระสยามเทวาธิราช ของรัชกาลที่ 4 มีต้นแบบของความเชื่อเกี่ยวกับการเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในราชอาณาจักรมาจาก เทพีบริทาเนีย (Britannia) แห่งราชวงศ์อังกฤษ แต่ในขณะนั้นการจะพูดถึงการเป็นศูนย์รวมจิตใจกับประชาชน คงเป็นเรื่องยากในการทำความเข้าใจ รัชกาลที่ 4 จึงได้นำความเชื่อเกี่ยวกับการปกปักษ์รักษาเมืองให้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข โดยได้ยกสถานะพระสยามเทวาธิราชเป็นเทพคุ้มครองปกป้องเมือง ที่อยู่เหนือเทพยดาหลักเมืองและเทพารักษ์ทั้ง 5 คือ เจ้าพ่อหอกลอง เจ้าพ่อเจตคุปต์ พระเสื้อเมือง พระทรงเมือง...
Published 09/25/21
ก่อนที่ศาสนาจะเข้ามาเผยแผ่ในดินแดนอุษาคเนย์ ผีที่ได้รับความเคารพนับถือยังไม่มีการแบ่งชนชั้นหรือลักษณะของผีสาง เมื่อศาสนาและความเชื่่อเกี่ยวกับเทพเทวดาเข้ามามีบทบาทในพื้นที่แห่งนี้ ผีบ้านผีเมืองที่มีลักษณะ หรืออภินิหาญคล้ายคลึงกับเทพ จึงได้รับการยกสถานะขึ้นเป็นเทพเทวดาปกปักษ์รักษาคุ้มครองป้องกันภัย โดยได้จำแนก 4 - 5 ประเภท
Published 09/18/21
ก่อนที่ศาสนาจะเข้ามาเผยแผ่ในดินแดนอุษาคเนย์ ผีที่ได้รับความเคารพนับถือยังไม่มีการแบ่งชนชั้นหรือลักษณะของผีสาง เมื่อศาสนาและความเชื่่อเกี่ยวกับเทพเทวดาเข้ามามีบทบาทในพื้นที่แห่งนี้ ผีบ้านผีเมืองที่มีลักษณะ หรืออภินิหาญคล้ายคลึงกับเทพ จึงได้รับการยกสถานะขึ้นเป็นเทพเทวดาปกปักษ์รักษาคุ้มครองป้องกันภัย โดยได้จำแนก 4 - 5 ประเภท
Published 09/18/21
ก่อนที่ศาสนาจะเข้ามาเผยแผ่ในดินแดนอุษาคเนย์ ผีที่ได้รับความเคารพนับถือยังไม่มีการแบ่งชนชั้นหรือลักษณะของผีสาง เมื่อศาสนาและความเชื่่อเกี่ยวกับเทพเทวดาเข้ามามีบทบาทในพื้นที่แห่งนี้ ผีบ้านผีเมืองที่มีลักษณะ หรืออภินิหาญคล้ายคลึงกับเทพ จึงได้รับการยกสถานะขึ้นเป็นเทพเทวดาปกปักษ์รักษาคุ้มครองป้องกันภัย โดยได้จำแนก 4 - 5 ประเภท
Published 09/18/21
ในกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลไต - ไท ในดินแดนเอเชียอาคเนย์ ทางตอนใต้ของจีน และต่างตะวันออกของอินเดีย มีความเชื่อเกี่ยวกับผีบ้านผีเมืองไปในทิศทางเดียวกัน นั่นทำให้คนในกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์กันในลักษณะเครือญาติ
Published 09/11/21
ในกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลไต - ไท ในดินแดนเอเชียอาคเนย์ ทางตอนใต้ของจีน และต่างตะวันออกของอินเดีย มีความเชื่อเกี่ยวกับผีบ้านผีเมืองไปในทิศทางเดียวกัน นั่นทำให้คนในกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์กันในลักษณะเครือญาติ
Published 09/11/21
ในกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลไต - ไท ในดินแดนเอเชียอาคเนย์ ทางตอนใต้ของจีน และต่างตะวันออกของอินเดีย มีความเชื่อเกี่ยวกับผีบ้านผีเมืองไปในทิศทางเดียวกัน นั่นทำให้คนในกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์กันในลักษณะเครือญาติ
Published 09/11/21