Episodes
หลังจากประเทศสยามก้าวสู่การเป็นประชาธิปไตยและมีการประกาศใช้ #รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 แต่แล้วในปี พ.ศ. 2476 สยามต้องเผชิญกับความผันผวนทางการเมืองอยู่หลายอย่าง ตั้งแต่ความพยาบามที่จะมีคณะพรรคการเมือง การเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ การปิดสภาฯ การงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตราที่เปรียบเสมือนการถูกยึดอำนาจครั้งแรก การยึดอำนาจโดยทหารฝ่ายคณะราษฎร เพื่อกลับมาใช้รัฐธรรมนูญอีกครั้ง การเกิดกบฏบวรเดช จนมาถึงการเลือกตั้งครั้งแรก เหตุการณ์ต่าง ๆ...
Published 12/29/22
28 ธันวาคม ในทางประวัติศาสตร์เป็นวันที่ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ปราบดาภิเษก "ทองอยู่ พุฒพัฒน์" อดีต ส.ส. จังหวัดธนบุรีคนแรกเมื่อปี พ.ศ. 2476 เป็นผู้ผลักดันให้มีการก่อสร้างอนุสาวรีย์ที่วงเวียนใหญ่ซึ่งใช้เวลายาวนานถึง 20 ปีนับตั้งแต่ริเริ่มจนก่อสร้างเสร็จ ทองอยู่ พุฒพัฒน์ ยังมีบทบาททางการเมืองและการเรียกร้องประชาธิปไตยโดยเฉพาะการเป็นดาวไฮด์ปาร์ค ขึ้นกล่าวโจมตีการทำงานของรัฐบาลในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม รวมถึงการถูกจับกุมในเหตุการณ์...
Published 12/22/22
สำหรับคนที่ชอบอ่านหนังสือคงจะรู้จักนามปากกา เสฐียรโกเศศ เป็นอย่างดีซึ่งเป็นนามปากกาของ พระยาอนุมานราชธน นักปราชญ์ นักเขียนและบุคคลสำคัญของโลกที่ได้รับการยกย่องจากยูเนสโก (UNESCO) เมื่อปี พ.ศ. 2531 มีงานเขียนที่คุ้นและรู้จักกันเป็นอย่างดีเช่น กามนิต, หิโตปเทศ (ซึ่งเขียนร่วมกับ นาคะประทีป) และ ฟื้นความหลัง นอกจากงานเขียนหนังสือ ยังดำรงตำแหน่งในหน่วยงานต่าง ๆ เช่น กรมศิลปากร, ราชบัณฑิตยสถาน ฯลฯ แต่เบื้องหลังการดำเนินชีวิตรวมถึงข้อความบนพินัยกรรมที่ส่งต่อไปยังลูกน้อยคนนักที่รู้ รายการ...
Published 12/15/22
สำหรับคนที่ชอบอ่านหนังสือคงจะรู้จักนามปากกา เสฐียรโกเศศ เป็นอย่างดีซึ่งเป็นนามปากกาของ พระยาอนุมานราชธน นักปราชญ์ นักเขียนและบุคคลสำคัญของโลกที่ได้รับการยกย่องจากยูเนสโก (UNESCO) เมื่อปี พ.ศ. 2531 มีงานเขียนที่คุ้นและรู้จักกันเป็นอย่างดีเช่น กามนิต, หิโตปเทศ (ซึ่งเขียนร่วมกับ นาคะประทีป) และ ฟื้นความหลัง นอกจากงานเขียนหนังสือ ยังดำรงตำแหน่งในหน่วยงานต่าง ๆ เช่น กรมศิลปากร, ราชบัณฑิตยสถาน ฯลฯ แต่เบื้องหลังการดำเนินชีวิตรวมถึงข้อความบนพินัยกรรมที่ส่งต่อไปยังลูกน้อยคนนักที่รู้ รายการ...
Published 12/15/22
การเสนอร่างโครงการพัฒนาเศรษฐกิจเมื่อปลายปี พ.ศ. 2475 (ปฏิทินเก่า) ของ "ปรีดี พนมยงค์" ที่ขึ้นชื่อว่าเป็นมันสมองของคณะราษฎร ถูกกล่าวหาว่าเป็น #คอมมิวนิสต์ ทั้งที่เบื้องหลัง ปรีดีก็มีความขัดแย้งคนของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย รวมถึงการถูกกล่าวหาว่าฝักใฝ่คอมมิวนิสต์หลังลี้ภัยไปยังประเทศจีนทั้งที่จริงแล้ว ปรีดีลี้ภัยไปจีนก่อนทีฝ่ายคอมมิวนิสต์จะได้รับชัยชนะ เบื้องหลังความขัดแย้งและการถูกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ของ "ปรีดี พนมยงค์" เกิดขึ้นได้อย่างไร
Published 12/08/22
การเสนอร่างโครงการพัฒนาเศรษฐกิจเมื่อปลายปี พ.ศ. 2475 (ปฏิทินเก่า) ของ "ปรีดี พนมยงค์" ที่ขึ้นชื่อว่าเป็นมันสมองของคณะราษฎร ถูกกล่าวหาว่าเป็น #คอมมิวนิสต์ ทั้งที่เบื้องหลัง ปรีดีก็มีความขัดแย้งคนของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย รวมถึงการถูกกล่าวหาว่าฝักใฝ่คอมมิวนิสต์หลังลี้ภัยไปยังประเทศจีนทั้งที่จริงแล้ว ปรีดีลี้ภัยไปจีนก่อนทีฝ่ายคอมมิวนิสต์จะได้รับชัยชนะ เบื้องหลังความขัดแย้งและการถูกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ของ "ปรีดี พนมยงค์" เกิดขึ้นได้อย่างไร
Published 12/08/22
คนไทยคนแรกที่ได้รับการยกย่องให้เป็นบุคคลสำคัญของโลกจากยูเนสโก (UNESCO) ในวาระ 100 ปีประสูติ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2505 คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 พระองค์ทรงมีคุณูปการทางการศึกษาโดยเฉพาะเรื่องราวทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ไม่เพียงเท่านั้นยังมีบทบาททางการเมืองการปกครองในสมัยนั้นอีกด้วย
Published 12/01/22
คนไทยคนแรกที่ได้รับการยกย่องให้เป็นบุคคลสำคัญของโลกจากยูเนสโก (UNESCO) ในวาระ 100 ปีประสูติ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2505 คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 พระองค์ทรงมีคุณูปการทางการศึกษาโดยเฉพาะเรื่องราวทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ไม่เพียงเท่านั้นยังมีบทบาททางการเมืองการปกครองในสมัยนั้นอีกด้วย
Published 12/01/22
พระราชนิพนธ์และผลงานแปลของพระมหากษัตริย์หลายเรื่อง ถูกนำมาใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทยมาอย่างยาวนาน หนึ่งในนั้นคือเรื่อง เวนิสวานิช ผลงานแปลในรัชกาลที่ 6 ต้นฉบับของ วิลเลียม เชกส์เปียร์ (William Shakespeare) ที่แสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพทางด้านภาษาที่ทรงแปลได้ตรงตามความหมายจากต้นฉบับออกมาเป็นกลอนเมื่อ พ.ศ. 2459 สำหรับเรื่องนี้มีประโยคที่เราต่างคุ้นหูคือ "อันความกรุณาปรานี จะมีใครมาบังคับก็หาไม่..." พระอัจฉริยภาพในรัชกาลที่ 6...
Published 11/24/22
พระราชนิพนธ์และผลงานแปลของพระมหากษัตริย์หลายเรื่อง ถูกนำมาใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทยมาอย่างยาวนาน หนึ่งในนั้นคือเรื่อง เวนิสวานิช ผลงานแปลในรัชกาลที่ 6 ต้นฉบับของ วิลเลียม เชกส์เปียร์ (William Shakespeare) ที่แสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพทางด้านภาษาที่ทรงแปลได้ตรงตามความหมายจากต้นฉบับออกมาเป็นกลอนเมื่อ พ.ศ. 2459 สำหรับเรื่องนี้มีประโยคที่เราต่างคุ้นหูคือ "อันความกรุณาปรานี จะมีใครมาบังคับก็หาไม่..." พระอัจฉริยภาพในรัชกาลที่ 6...
Published 11/24/22
พระราชนิพนธ์และผลงานแปลของพระมหากษัตริย์หลายเรื่อง ถูกนำมาใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทยมาอย่างยาวนาน หนึ่งในนั้นคือเรื่อง เวนิสวานิช ผลงานแปลในรัชกาลที่ 6 ต้นฉบับของ วิลเลียม เชกส์เปียร์ (William Shakespeare) ที่แสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพทางด้านภาษาที่ทรงแปลได้ตรงตามความหมายจากต้นฉบับออกมาเป็นกลอนเมื่อ พ.ศ. 2459 สำหรับเรื่องนี้มีประโยคที่เราต่างคุ้นหูคือ "อันความกรุณาปรานี จะมีใครมาบังคับก็หาไม่..." พระอัจฉริยภาพในรัชกาลที่ 6...
Published 11/24/22
ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองของประเทศไทย ย้อนไปเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514 ผู้นำรัฐบาลสมัยนั้นคือ จอมพลถนอม กิตติขจร ได้ทำการรัฐประหารตนเอง แล้วยกเลิกรัฐธรรมนูญปี 2511 ที่ใช้เวลาร่างมานานนับสิบปี ทำให้ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ซึ่งในเวลานั้นเป็นคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย) ได้เขียนจดหมายโดยใช้ชื่อว่า นายเข้ม เย็นยิ่ง ถึง จอมพลถนอม กิตติขจร โดยใช้ชื่อว่า นายทำนุ เกียรติก้อง ผู้ใหญ่บ้านไทยเจริญ ใจความสำคัญของจดหมายคือการเรียกร้องให้มีกติกาหมู่บ้าน...
Published 11/17/22
ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองของประเทศไทย ย้อนไปเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514 ผู้นำรัฐบาลสมัยนั้นคือ จอมพลถนอม กิตติขจร ได้ทำการรัฐประหารตนเอง แล้วยกเลิกรัฐธรรมนูญปี 2511 ที่ใช้เวลาร่างมานานนับสิบปี ทำให้ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ซึ่งในเวลานั้นเป็นคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย) ได้เขียนจดหมายโดยใช้ชื่อว่า นายเข้ม เย็นยิ่ง ถึง จอมพลถนอม กิตติขจร โดยใช้ชื่อว่า นายทำนุ เกียรติก้อง ผู้ใหญ่บ้านไทยเจริญ ใจความสำคัญของจดหมายคือการเรียกร้องให้มีกติกาหมู่บ้าน...
Published 11/17/22
ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองของประเทศไทย ย้อนไปเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514 ผู้นำรัฐบาลสมัยนั้นคือ จอมพลถนอม กิตติขจร ได้ทำการรัฐประหารตนเอง แล้วยกเลิกรัฐธรรมนูญปี 2511 ที่ใช้เวลาร่างมานานนับสิบปี ทำให้ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ซึ่งในเวลานั้นเป็นคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย) ได้เขียนจดหมายโดยใช้ชื่อว่า นายเข้ม เย็นยิ่ง ถึง จอมพลถนอม กิตติขจร โดยใช้ชื่อว่า นายทำนุ เกียรติก้อง ผู้ใหญ่บ้านไทยเจริญ ใจความสำคัญของจดหมายคือการเรียกร้องให้มีกติกาหมู่บ้าน...
Published 11/17/22
  ในยุคออนไลน์ที่สามารถดูหนังฟังเพลงได้อย่างสะดวกสบายผ่านช่องทางต่าง ๆ เลือกชมได้โดยไม่ต้องคอย อาจทำให้คนในปัจจุบันนึกไม่ถึงว่า ในอดีตเวลาอยากฟังเพลงต้องเปิดเทปคาสเซ็ท อยากดูหนังทั้งไทยและเทศ ต้องไปเช่าวีดีโอตามร้านที่เป็นสมาชิกไว้ จนภายหลังแผ่นซีดีและดีวีดีเข้ามาแทนที่วีดีโออย่างรวดเร็วและในที่สุดทั้งเทป วีดีโอ ซีดี ก็ล้วนกลายเป็นอดีตของสังคมไป คุณธานี จิริยะสิน เจ้าของร้านให้เช่าวิดีโอ บริเวณท่าพระจันทร์ เล่าถึงประสบการณ์ ความคึกคัก และเสน่ห์ของร้านเช่าวีดีโอ-ซีดี...
Published 11/10/22
  ในยุคออนไลน์ที่สามารถดูหนังฟังเพลงได้อย่างสะดวกสบายผ่านช่องทางต่าง ๆ เลือกชมได้โดยไม่ต้องคอย อาจทำให้คนในปัจจุบันนึกไม่ถึงว่า ในอดีตเวลาอยากฟังเพลงต้องเปิดเทปคาสเซ็ท อยากดูหนังทั้งไทยและเทศ ต้องไปเช่าวีดีโอตามร้านที่เป็นสมาชิกไว้ จนภายหลังแผ่นซีดีและดีวีดีเข้ามาแทนที่วีดีโออย่างรวดเร็วและในที่สุดทั้งเทป วีดีโอ ซีดี ก็ล้วนกลายเป็นอดีตของสังคมไป คุณธานี จิริยะสิน เจ้าของร้านให้เช่าวิดีโอ บริเวณท่าพระจันทร์ เล่าถึงประสบการณ์ ความคึกคัก และเสน่ห์ของร้านเช่าวีดีโอ-ซีดี...
Published 11/10/22
  ในยุคออนไลน์ที่สามารถดูหนังฟังเพลงได้อย่างสะดวกสบายผ่านช่องทางต่าง ๆ เลือกชมได้โดยไม่ต้องคอย อาจทำให้คนในปัจจุบันนึกไม่ถึงว่า ในอดีตเวลาอยากฟังเพลงต้องเปิดเทปคาสเซ็ท อยากดูหนังทั้งไทยและเทศ ต้องไปเช่าวีดีโอตามร้านที่เป็นสมาชิกไว้ จนภายหลังแผ่นซีดีและดีวีดีเข้ามาแทนที่วีดีโออย่างรวดเร็วและในที่สุดทั้งเทป วีดีโอ ซีดี ก็ล้วนกลายเป็นอดีตของสังคมไป คุณธานี จิริยะสิน เจ้าของร้านให้เช่าวิดีโอ บริเวณท่าพระจันทร์ เล่าถึงประสบการณ์ ความคึกคัก และเสน่ห์ของร้านเช่าวีดีโอ-ซีดี...
Published 11/10/22
  คุกสมัยใหม่ของไทยเพิ่งเกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีการปฏิรูปการราชทัณฑ์ สร้างคุกใหม่อย่างอารยประเทศ และปรับปรุงทั้งสภาพความเป็นอยู่ การพันธนาการ การใช้แรงงานนักโทษ ฯลฯ รายการ “รอยจารึก..บันทึกสยาม” คุยกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรัญญู เทพสงเคราะห์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เล่าถึงพัฒนาของคุกไทย จากแบบจารีตเดิม มาสู่ราชทัณฑ์สมัยใหม่ ที่มีความเปลี่ยนแปลงทั้งวิธีคิดและการดูแลนักโทษ ตั้งแต่ยุครัชกาลที่ 5...
Published 11/03/22
  คุกสมัยใหม่ของไทยเพิ่งเกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีการปฏิรูปการราชทัณฑ์ สร้างคุกใหม่อย่างอารยประเทศ และปรับปรุงทั้งสภาพความเป็นอยู่ การพันธนาการ การใช้แรงงานนักโทษ ฯลฯ รายการ “รอยจารึก..บันทึกสยาม” คุยกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรัญญู เทพสงเคราะห์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เล่าถึงพัฒนาของคุกไทย จากแบบจารีตเดิม มาสู่ราชทัณฑ์สมัยใหม่ ที่มีความเปลี่ยนแปลงทั้งวิธีคิดและการดูแลนักโทษ ตั้งแต่ยุครัชกาลที่ 5...
Published 11/03/22
  คุกสมัยใหม่ของไทยเพิ่งเกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีการปฏิรูปการราชทัณฑ์ สร้างคุกใหม่อย่างอารยประเทศ และปรับปรุงทั้งสภาพความเป็นอยู่ การพันธนาการ การใช้แรงงานนักโทษ ฯลฯ รายการ “รอยจารึก..บันทึกสยาม” คุยกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรัญญู เทพสงเคราะห์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เล่าถึงพัฒนาของคุกไทย จากแบบจารีตเดิม มาสู่ราชทัณฑ์สมัยใหม่ ที่มีความเปลี่ยนแปลงทั้งวิธีคิดและการดูแลนักโทษ ตั้งแต่ยุครัชกาลที่ 5...
Published 11/03/22
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) เป็นระบอบการปกครองอีกรูปแบบหนึ่งที่สยามเคยนำมาใช้ในการปกครองบ้านเมือง โดยระบอบนี้ถูกนำมาใช้ในระยะเวลาสั้น ๆ เพียง 40 ปีเท่านั้น (พ.ศ. 2435 - 2475) แม้ในประวัติศาสตร์หลายร้อยปีแผ่นดินนี้มีผู้ปกครองเป็นพระมหากษัตริย์ แต่กลับไม่ใช่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในความเข้าใจและความรู้ที่ได้รับมา เชื่อว่าหลายคนเข้าใจมาเสมอว่า การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ถูกใช้มาตั้งแต่สมัยสุโขทัยต่อเนื่องจนถึงรัชกาลที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ แต่จริง ๆ แล้วถูกใช้เพียงแค่ 40...
Published 10/27/22
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) เป็นระบอบการปกครองอีกรูปแบบหนึ่งที่สยามเคยนำมาใช้ในการปกครองบ้านเมือง โดยระบอบนี้ถูกนำมาใช้ในระยะเวลาสั้น ๆ เพียง 40 ปีเท่านั้น (พ.ศ. 2435 - 2475) แม้ในประวัติศาสตร์หลายร้อยปีแผ่นดินนี้มีผู้ปกครองเป็นพระมหากษัตริย์ แต่กลับไม่ใช่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในความเข้าใจและความรู้ที่ได้รับมา เชื่อว่าหลายคนเข้าใจมาเสมอว่า การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ถูกใช้มาตั้งแต่สมัยสุโขทัยต่อเนื่องจนถึงรัชกาลที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ แต่จริง ๆ แล้วถูกใช้เพียงแค่ 40...
Published 10/27/22
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) เป็นระบอบการปกครองอีกรูปแบบหนึ่งที่สยามเคยนำมาใช้ในการปกครองบ้านเมือง โดยระบอบนี้ถูกนำมาใช้ในระยะเวลาสั้น ๆ เพียง 40 ปีเท่านั้น (พ.ศ. 2435 - 2475) แม้ในประวัติศาสตร์หลายร้อยปีแผ่นดินนี้มีผู้ปกครองเป็นพระมหากษัตริย์ แต่กลับไม่ใช่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในความเข้าใจและความรู้ที่ได้รับมา เชื่อว่าหลายคนเข้าใจมาเสมอว่า การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ถูกใช้มาตั้งแต่สมัยสุโขทัยต่อเนื่องจนถึงรัชกาลที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ แต่จริง ๆ แล้วถูกใช้เพียงแค่ 40...
Published 10/27/22
ในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยเป็นเพียงประเทศเดียวที่ไม่ตกเป็นเมืองขึ้นของชาติตะวันตกในยุคล่าอาณานิคมในสมัยรัชกาลที่ 5 แม้จะไม่ถูกเป็นเมืองขึ้นแต่ในสมัยนั้นเราอาจกลายเป็นรัฐกันชนระหว่างอังกฤษที่มีดินแดนการปกครองทางตะวันตกและตอนใต้ กับฝรั่งเศสที่มีดินแดนการปกครองทางตะวันออก แม้จะไม่ตกเป็นเมืองขึ้นของชาติตะวันตก แต่สยามที่หมายถึงกรุงเทพมหานครในขณะนั้น ก็แผ่ขยายขอบเขตการปกครองและอำนาจออกไปทางทิศเหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือ แล้วผนวกรวมกันเป็นพื้นที่เดียวกันมาจนถึงทุกวันนี้...
Published 10/20/22