PHY12 ทำไม ‘ท้องฟ้า’ จึงมีสีสันอย่างที่ตาเราเห็น?
Listen now
Description
หลายต่อหลายครั้ง การค้นพบอันยิ่งใหญ่ของโลกใบนี้ ก็มีจุดเริ่มต้นจากคำถามที่เรียบง่าย หนึ่งในนั้นคือคำถามที่ว่า ทำไมท้องฟ้าที่เราเห็น จึงเป็นสีฟ้า? เชื่อหรือไม่ว่า ภาพที่เราเห็นชินตาอยู่ทุกวัน คือการเห็นท้องฟ้าตอนกลางวันเป็นสีฟ้า ตอนพระอาทิตย์ขึ้นและตกเป็นสีแสด และตอนกลางคืนเป็นสีมืดดำ กลับมีเหตุผลทางธรรมชาติอันลึกล้ำกว่าที่ใครคาดคิด ใดๆ ในโลกล้วนฟิสิกส์ เอพิโสดนี้ พาไปสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างสีสันบนท้องฟ้า แสงจากดวงอาทิตย์ที่ส่องผ่านชั้นบรรยากาศ จนถึงกลไกในดวงตาของมนุษย์ ดำเนินรายการโดย ป๋องแป๋ง-อาจวรงค์ จันทมาศ นักสื่อสารวิทยาศาสตร์ และ ฟาง-รัฐโรจน์ จิตรพนา ครีเอทีฟมากฝีมือจาก THE STANDARD
More Episodes
ปฏิเสธไม่ได้ว่าความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบางอย่างก็มาพร้อมกับสงครามและความรุนแรง  เราอาจเคยเห็นตัวอย่างเครื่องถอดรหัส ‘อีนิกมา’ ของ อลัน ทัวริง ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ท้ายสุดถูกพัฒนามาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบัน รายการ ใดๆ ในโลกล้วนฟิสิกส์ เอพิโสดนี้ พาไปทำความรู้จักกับ...
Published 11/24/23
รายการ ใดๆ ในโลกล้วนฟิสิกส์ เอพิโสดนี้ พาไปทำความรู้จักกับ ‘อัตโตวินาที’ ความเร็วระดับ ‘1 ล้านล้านล้าน’ ส่วนของ 1 วินาที ความเร็วเหนือจินตนาการ เร็วจนได้รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ปี 2023 นักฟิสิกส์ค้นพบความเร็วระดับนี้ได้อย่างไร มันเอาไปทำอะไรได้บ้าง...
Published 11/17/23