Episodes
การพิจารณาบทบาทความเป็นพุทธศาสนูปถัมภกของพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์นั้นไม่พึงกระทำโดยการอธิบายเป็นภาพรวม คือการนำข้อมูลมาบรรยายและพรรณนาต่อกันไปให้มากที่สุด เพราะการบรรยายเช่นนี้ทำให้ผู้รับสารไม่สามารถประจักษ์ในบทบาทและการกระทำที่คัดสรรมาบรรยายได้อย่างเป็นเหตุและผลแก่กัน ในทางตรงข้ามจะได้แยกบทบาทของความเป็นพุทธศาสนูปถัมภกนี้ออกเป็น ๔ มิติ ซึ่งมีความสอดคล้องกับองค์ประกอบความเป็นพุทธศาสนา อันได้แก่ ศาสนธรรม ศาสนบุคคล ศาสนวัตถุ และศาสนพิธี...
Published 09/27/20
การพิจารณาบทบาทความเป็นพุทธศาสนูปถัมภกของพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์นั้นไม่พึงกระทำโดยการอธิบายเป็นภาพรวม คือการนำข้อมูลมาบรรยายและพรรณนาต่อกันไปให้มากที่สุด เพราะการบรรยายเช่นนี้ทำให้ผู้รับสารไม่สามารถประจักษ์ในบทบาทและการกระทำที่คัดสรรมาบรรยายได้อย่างเป็นเหตุและผลแก่กัน ในทางตรงข้ามจะได้แยกบทบาทของความเป็นพุทธศาสนูปถัมภกนี้ออกเป็น ๔ มิติ ซึ่งมีความสอดคล้องกับองค์ประกอบความเป็นพุทธศาสนา อันได้แก่ ศาสนธรรม ศาสนบุคคล ศาสนวัตถุ และศาสนพิธี...
Published 09/27/20
การพิจารณาบทบาทความเป็นพุทธศาสนูปถัมภกของพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์นั้นไม่พึงกระทำโดยการอธิบายเป็นภาพรวม คือการนำข้อมูลมาบรรยายและพรรณนาต่อกันไปให้มากที่สุด เพราะการบรรยายเช่นนี้ทำให้ผู้รับสารไม่สามารถประจักษ์ในบทบาทและการกระทำที่คัดสรรมาบรรยายได้อย่างเป็นเหตุและผลแก่กัน ในทางตรงข้ามจะได้แยกบทบาทของความเป็นพุทธศาสนูปถัมภกนี้ออกเป็น ๔ มิติ ซึ่งมีความสอดคล้องกับองค์ประกอบความเป็นพุทธศาสนา อันได้แก่ ศาสนธรรม ศาสนบุคคล ศาสนวัตถุ และศาสนพิธี...
Published 09/27/20
พระราชสถานะที่พระมหากษัตริย์อยุธยาทรงได้รับการยกย่องด้วยอุดมคติในพุทธศาสนาให้ทรงมีบารมีเสมอด้วยสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ พระเจ้าจักรพรรดิราช พระเจ้ามหาสมมติราช และพระธรรมราชานั้น โดยแท้จริงคือการสำแดงนัยยะว่าพระมหากษัตริย์ผู้ทรงบารมีมากถึงเพียงนี้จักต้องทรงเป็นผู้ประพฤติธรรม และมีพระราชภาระในการปกป้องคุ้มครองมาตรฐานทางศีลธรรมจรรยาของบ้านเมือง จึงจะเห็นได้ว่าพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยานั้นมีกรอบสำหรับควบคุมการปฏิบัติพระองค์คือราชธรรมอันมาจากพระพุทธวจนะในพระสูตรต่างๆ เช่น ทศพิธราชธรรม...
Published 09/20/20
พระราชสถานะที่พระมหากษัตริย์อยุธยาทรงได้รับการยกย่องด้วยอุดมคติในพุทธศาสนาให้ทรงมีบารมีเสมอด้วยสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ พระเจ้าจักรพรรดิราช พระเจ้ามหาสมมติราช และพระธรรมราชานั้น โดยแท้จริงคือการสำแดงนัยยะว่าพระมหากษัตริย์ผู้ทรงบารมีมากถึงเพียงนี้จักต้องทรงเป็นผู้ประพฤติธรรม และมีพระราชภาระในการปกป้องคุ้มครองมาตรฐานทางศีลธรรมจรรยาของบ้านเมือง จึงจะเห็นได้ว่าพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยานั้นมีกรอบสำหรับควบคุมการปฏิบัติพระองค์คือราชธรรมอันมาจากพระพุทธวจนะในพระสูตรต่างๆ เช่น ทศพิธราชธรรม...
Published 09/20/20
พระราชสถานะที่พระมหากษัตริย์อยุธยาทรงได้รับการยกย่องด้วยอุดมคติในพุทธศาสนาให้ทรงมีบารมีเสมอด้วยสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ พระเจ้าจักรพรรดิราช พระเจ้ามหาสมมติราช และพระธรรมราชานั้น โดยแท้จริงคือการสำแดงนัยยะว่าพระมหากษัตริย์ผู้ทรงบารมีมากถึงเพียงนี้จักต้องทรงเป็นผู้ประพฤติธรรม และมีพระราชภาระในการปกป้องคุ้มครองมาตรฐานทางศีลธรรมจรรยาของบ้านเมือง จึงจะเห็นได้ว่าพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยานั้นมีกรอบสำหรับควบคุมการปฏิบัติพระองค์คือราชธรรมอันมาจากพระพุทธวจนะในพระสูตรต่างๆ เช่น ทศพิธราชธรรม...
Published 09/20/20
งานพุทธศิลป์ทั้งของสุโขทัยและล้านนาล้วนได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์ซึ่งมีพลังอันมหาศาลในการแปรความศรัทธาของพระมหากษัตริย์และมหาชนของรัฐทั้งสองออกมาเป็นสุนทรียะทางศิลปะที่มีเอกลักษณ์เฉพาะเป็นของตนเอง
Published 09/13/20
งานพุทธศิลป์ทั้งของสุโขทัยและล้านนาล้วนได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์ซึ่งมีพลังอันมหาศาลในการแปรความศรัทธาของพระมหากษัตริย์และมหาชนของรัฐทั้งสองออกมาเป็นสุนทรียะทางศิลปะที่มีเอกลักษณ์เฉพาะเป็นของตนเอง
Published 09/13/20
งานพุทธศิลป์ทั้งของสุโขทัยและล้านนาล้วนได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์ซึ่งมีพลังอันมหาศาลในการแปรความศรัทธาของพระมหากษัตริย์และมหาชนของรัฐทั้งสองออกมาเป็นสุนทรียะทางศิลปะที่มีเอกลักษณ์เฉพาะเป็นของตนเอง
Published 09/13/20
พระมหากษัตริย์นั้นเป็นองค์อุปถัมภก หรือผู้อุปถัมภ์พุทธศาสนาที่มีสถานะสูงสุดในโครงสร้างทางสังคม โดยสถานะนี้พระองค์ย่อมต้องทรงเป็นผู้นำในการ “โอยทาน” คนสำคัญที่สุดในบ้านเมือง ในแคว้นสุโขทัยและแคว้นล้านนานั้น เราจะพบหลักฐานที่แสดงการโอยทานของพระมหากษัตริย์ที่ทรงปฏิบัติเป็นพระราชกรณียกิจสำคัญอยู่โดยตลอดทุกรัชสมัย การโอยทานที่สำคัญยิ่งของกษัตริย์สุโขทัยและล้านนาคือการอุปถัมภ์บำรุงคณะสงฆ์ ด้วยพระสงฆ์นั้นเป็นองค์บุคลากรสำคัญในการสืบพระศาสนา
Published 09/06/20
พระมหากษัตริย์นั้นเป็นองค์อุปถัมภก หรือผู้อุปถัมภ์พุทธศาสนาที่มีสถานะสูงสุดในโครงสร้างทางสังคม โดยสถานะนี้พระองค์ย่อมต้องทรงเป็นผู้นำในการ “โอยทาน” คนสำคัญที่สุดในบ้านเมือง ในแคว้นสุโขทัยและแคว้นล้านนานั้น เราจะพบหลักฐานที่แสดงการโอยทานของพระมหากษัตริย์ที่ทรงปฏิบัติเป็นพระราชกรณียกิจสำคัญอยู่โดยตลอดทุกรัชสมัย การโอยทานที่สำคัญยิ่งของกษัตริย์สุโขทัยและล้านนาคือการอุปถัมภ์บำรุงคณะสงฆ์ ด้วยพระสงฆ์นั้นเป็นองค์บุคลากรสำคัญในการสืบพระศาสนา
Published 09/06/20
พระมหากษัตริย์นั้นเป็นองค์อุปถัมภก หรือผู้อุปถัมภ์พุทธศาสนาที่มีสถานะสูงสุดในโครงสร้างทางสังคม โดยสถานะนี้พระองค์ย่อมต้องทรงเป็นผู้นำในการ “โอยทาน” คนสำคัญที่สุดในบ้านเมือง ในแคว้นสุโขทัยและแคว้นล้านนานั้น เราจะพบหลักฐานที่แสดงการโอยทานของพระมหากษัตริย์ที่ทรงปฏิบัติเป็นพระราชกรณียกิจสำคัญอยู่โดยตลอดทุกรัชสมัย การโอยทานที่สำคัญยิ่งของกษัตริย์สุโขทัยและล้านนาคือการอุปถัมภ์บำรุงคณะสงฆ์ ด้วยพระสงฆ์นั้นเป็นองค์บุคลากรสำคัญในการสืบพระศาสนา
Published 09/06/20
การแสดงพระองค์เป็นพระธรรมราชาของกษัตริย์สุโขทัยนั้นในทางหนึ่งคือการแสดงนัยยะทางการเมืองให้ปรากฏชัดว่าพระองค์เป็นผู้นำทรงบารมีที่มีสิทธิธรรมความชอบในการปกครองบ้านเมืองจากความเป็นกษัตริย์ผู้นับถือและปฏิบัติตามพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แสดงว่าพระองค์ปกครองบ้านเมืองและอาณาประชาราษฎร์โดยธรรม ทั้งยังยึดพระธรรมของพระพุทธเจ้าเป็นหลักในการปกครอง
Published 08/30/20
การแสดงพระองค์เป็นพระธรรมราชาของกษัตริย์สุโขทัยนั้นในทางหนึ่งคือการแสดงนัยยะทางการเมืองให้ปรากฏชัดว่าพระองค์เป็นผู้นำทรงบารมีที่มีสิทธิธรรมความชอบในการปกครองบ้านเมืองจากความเป็นกษัตริย์ผู้นับถือและปฏิบัติตามพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แสดงว่าพระองค์ปกครองบ้านเมืองและอาณาประชาราษฎร์โดยธรรม ทั้งยังยึดพระธรรมของพระพุทธเจ้าเป็นหลักในการปกครอง
Published 08/30/20
การแสดงพระองค์เป็นพระธรรมราชาของกษัตริย์สุโขทัยนั้นในทางหนึ่งคือการแสดงนัยยะทางการเมืองให้ปรากฏชัดว่าพระองค์เป็นผู้นำทรงบารมีที่มีสิทธิธรรมความชอบในการปกครองบ้านเมืองจากความเป็นกษัตริย์ผู้นับถือและปฏิบัติตามพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แสดงว่าพระองค์ปกครองบ้านเมืองและอาณาประชาราษฎร์โดยธรรม ทั้งยังยึดพระธรรมของพระพุทธเจ้าเป็นหลักในการปกครอง
Published 08/30/20
การศึกษากระบวนการสืบทอดศรัทธาและการสร้างความรุ่งเรืองให้พระพุทธศาสนาเถรวาทในยุคแรกก่อตัวของรัฐไทยนั้น จะปฏิเสธมิได้เลยถึงบทบาทของพระมหากษัตริย์ของรัฐไทยยุคต้นเหล่านี้ โดยเฉพาะกษัตริย์ราชวงศ์พระร่วงของแคว้นสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกษัตริย์ในราชวงศ์มังรายของล้านนาประเทศ ในการเป็นผู้นำการสร้างศรัทธาอันมั่นคงในพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์ในประชาคมของคนไทย รวมทั้งการสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้พระพุทธศาสนาทั้งในด้านศาสนบุคคล ศาสนธรรม ศาสนวัตถุ และศาสนประเพณี
Published 08/23/20
การศึกษากระบวนการสืบทอดศรัทธาและการสร้างความรุ่งเรืองให้พระพุทธศาสนาเถรวาทในยุคแรกก่อตัวของรัฐไทยนั้น จะปฏิเสธมิได้เลยถึงบทบาทของพระมหากษัตริย์ของรัฐไทยยุคต้นเหล่านี้ โดยเฉพาะกษัตริย์ราชวงศ์พระร่วงของแคว้นสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกษัตริย์ในราชวงศ์มังรายของล้านนาประเทศ ในการเป็นผู้นำการสร้างศรัทธาอันมั่นคงในพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์ในประชาคมของคนไทย รวมทั้งการสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้พระพุทธศาสนาทั้งในด้านศาสนบุคคล ศาสนธรรม ศาสนวัตถุ และศาสนประเพณี
Published 08/23/20
การศึกษากระบวนการสืบทอดศรัทธาและการสร้างความรุ่งเรืองให้พระพุทธศาสนาเถรวาทในยุคแรกก่อตัวของรัฐไทยนั้น จะปฏิเสธมิได้เลยถึงบทบาทของพระมหากษัตริย์ของรัฐไทยยุคต้นเหล่านี้ โดยเฉพาะกษัตริย์ราชวงศ์พระร่วงของแคว้นสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกษัตริย์ในราชวงศ์มังรายของล้านนาประเทศ ในการเป็นผู้นำการสร้างศรัทธาอันมั่นคงในพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาวงศ์ในประชาคมของคนไทย รวมทั้งการสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้พระพุทธศาสนาทั้งในด้านศาสนบุคคล ศาสนธรรม ศาสนวัตถุ และศาสนประเพณี
Published 08/23/20
คติการบูชาพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรนั้นเฟื่องฟูอยู่ที่เมืองดงเดืองที่กษัตริย์จามทรงกำหนดให้เป็นเมืองศูนย์กลางของพุทธศาสนา แต่การสร้างและประดิษฐานรูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรตามคติธรรมเนียมจามที่เมืองดงเดืองนี้ออกจะแปลกกว่าในบ้านเมืองอื่นๆในโลกอุษาคเนย์ ที่โดยปกติจะประดิษฐานรูปพระโพธิสัตว์ที่หล่อด้วยทองคำหรือสำริด หรือแกะสลักจากหินขนาดใหญ่ไว้เพียงรูปเดียว ภายในปราสาทประธานซึ่งสร้างถวายเฉพาะพระองค์เท่านั้น แต่ที่วัดลักษมินทรโลเกศวรในเมืองดงเดืองนี้...
Published 08/16/20
คติการบูชาพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรนั้นเฟื่องฟูอยู่ที่เมืองดงเดืองที่กษัตริย์จามทรงกำหนดให้เป็นเมืองศูนย์กลางของพุทธศาสนา แต่การสร้างและประดิษฐานรูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรตามคติธรรมเนียมจามที่เมืองดงเดืองนี้ออกจะแปลกกว่าในบ้านเมืองอื่นๆในโลกอุษาคเนย์ ที่โดยปกติจะประดิษฐานรูปพระโพธิสัตว์ที่หล่อด้วยทองคำหรือสำริด หรือแกะสลักจากหินขนาดใหญ่ไว้เพียงรูปเดียว ภายในปราสาทประธานซึ่งสร้างถวายเฉพาะพระองค์เท่านั้น แต่ที่วัดลักษมินทรโลเกศวรในเมืองดงเดืองนี้...
Published 08/16/20
คติการบูชาพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรนั้นเฟื่องฟูอยู่ที่เมืองดงเดืองที่กษัตริย์จามทรงกำหนดให้เป็นเมืองศูนย์กลางของพุทธศาสนา แต่การสร้างและประดิษฐานรูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรตามคติธรรมเนียมจามที่เมืองดงเดืองนี้ออกจะแปลกกว่าในบ้านเมืองอื่นๆในโลกอุษาคเนย์ ที่โดยปกติจะประดิษฐานรูปพระโพธิสัตว์ที่หล่อด้วยทองคำหรือสำริด หรือแกะสลักจากหินขนาดใหญ่ไว้เพียงรูปเดียว ภายในปราสาทประธานซึ่งสร้างถวายเฉพาะพระองค์เท่านั้น แต่ที่วัดลักษมินทรโลเกศวรในเมืองดงเดืองนี้...
Published 08/16/20
จามเป็นชนชาติที่พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน นักมานุษยวิทยาพบว่าชนชาติจามมีความสัมพันธ์ด้านเครือญาติกับชนเผ่า รัคลาย เอเด จูรู และยาราย ที่เป็นชนกลุ่มน้อยในเวียดนามปัจจุบัน ทั้งยังจัดเป็นกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกันชาวมลายูในแหลมมลายู กับผู้คนกลุ่มต่างๆในหมู่เกาะอินโดนีเซีย และชาวตากาล็อกอันเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ของหมู่เกาะฟิลิปปินส์ หรือที่เรียกกันว่าผู้คนจากภาคพื้นน้ำของโลกอุษาคเนย์ นักมานุษยวิทยาของเวียดนามถือว่า “ชาวจาม” เป็น 1 ใน 54 ชนกลุ่มน้อยในประเทศเวียดนามปัจจุบัน...
Published 08/09/20
จามเป็นชนชาติที่พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน นักมานุษยวิทยาพบว่าชนชาติจามมีความสัมพันธ์ด้านเครือญาติกับชนเผ่า รัคลาย เอเด จูรู และยาราย ที่เป็นชนกลุ่มน้อยในเวียดนามปัจจุบัน ทั้งยังจัดเป็นกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกันชาวมลายูในแหลมมลายู กับผู้คนกลุ่มต่างๆในหมู่เกาะอินโดนีเซีย และชาวตากาล็อกอันเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ของหมู่เกาะฟิลิปปินส์ หรือที่เรียกกันว่าผู้คนจากภาคพื้นน้ำของโลกอุษาคเนย์ นักมานุษยวิทยาของเวียดนามถือว่า “ชาวจาม” เป็น 1 ใน 54 ชนกลุ่มน้อยในประเทศเวียดนามปัจจุบัน...
Published 08/09/20
จามเป็นชนชาติที่พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน นักมานุษยวิทยาพบว่าชนชาติจามมีความสัมพันธ์ด้านเครือญาติกับชนเผ่า รัคลาย เอเด จูรู และยาราย ที่เป็นชนกลุ่มน้อยในเวียดนามปัจจุบัน ทั้งยังจัดเป็นกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกันชาวมลายูในแหลมมลายู กับผู้คนกลุ่มต่างๆในหมู่เกาะอินโดนีเซีย และชาวตากาล็อกอันเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ของหมู่เกาะฟิลิปปินส์ หรือที่เรียกกันว่าผู้คนจากภาคพื้นน้ำของโลกอุษาคเนย์ นักมานุษยวิทยาของเวียดนามถือว่า “ชาวจาม” เป็น 1 ใน 54 ชนกลุ่มน้อยในประเทศเวียดนามปัจจุบัน...
Published 08/09/20